วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2555

งานวิจัย 1



ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตมหาวิทยาลัย : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่ง
Factors Contributing to Alcohol Beverage Consumption Behavior Among Undergraduate Students : A Case Study in a Public University
รองศาสตราจารย์ประณต เค้าฉิม
ดร.ดวงเดือน แซ่ตัง




บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ทานายพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตมหาวิทยาลัย (2) เปรียบเทียบปัจจัยด้านจิตวิทยา ปัจจัยด้านสัมพันธภาพ และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ระหว่างนิสิตที่มีพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่างกัน
กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้เป็นนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จานวน 425 คน ซึ่งกาลังศึกษาในภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2551 และลงทะเบียนเรียนในวิชาเลือก 2 รายวิชา คือ วิชา จต 223 จิตวิทยาวัยรุ่น และ จต 321 จิตวิทยาวัยผู้ใหญ่ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบสอบถาม 6 ชุด คือ (1) แบบสอบถามปัจจัยด้านชีวสังคมและภูมิหลัง ประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ เพศ อายุ ชั้นปีที่ศึกษา กลุ่มสาขาวิชาที่ศึกษา สถานที่เรียน ลาดับการเกิด สถานภาพทางเศรษฐกิจครอบครัว สถานภาพสมรสบิดามารดา บุคคลที่นิสิตพักอาศัยอยู่ด้วย และการมีกิจกรรมยามว่าง (2) แบบสอบถามปัจจัยด้านจิตวิทยา มี 2 ชุด คือ แบบสอบถามบุคลิกภาพแบบพึ่งพา และแบบสอบถามความไม่มั่นคงทางอารมณ์ (3) แบบสอบถามปัจจัยด้านสัมพันธภาพ มี 2 ชุด คือ แบบสอบถามความสัมพันธ์ระหว่างบิดากับมารดา และแบบสอบถามความสัมพันธ์ระหว่างนิสิตกับบิดามารดา (4) แบบสอบถามปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมี 1 ชุด คือ แบบสอบถามประสบการณ์จูงใจต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที (t-test) และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก
ผลการวิจัยที่สาคัญมีดังนี้
1. เพศ สถานที่เรียน และประสบการณ์จูงใจต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สามารถร่วมกันทานายพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ร้อยละ 27.4 ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .01
1.1 ความน่าจะเป็นที่นิสิตชายจะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็น 2.98 เท่าของนิสิตหญิง
1.2 ความน่าจะเป็นของนิสิตซึ่งเรียนที่องครักษ์จะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็น 2.01 เท่าของนิสิตซึ่งเรียนที่ประสานมิตร
1.3 ถ้าปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมดีเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะทาให้ความน่าจะเป็นของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็น 0.95 เท่าของความน่าจะเป็นในการดื่มครั้งก่อน
2. นิสิตที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีบุคลิกภาพแบบพึ่งพาสูงกว่านิสิตที่ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 แต่ไม่พบความแตกต่างในเรื่องความไม่มั่นคงทางอารมณ์ระหว่างสองกลุ่มนี้
3. นิสิตที่ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กับบิดามารดาดีกว่านิสิตที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05 แต่ไม่พบความแตกต่างในด้านความสัมพันธ์ระหว่างบิดากับมารดาระหว่างสองกลุ่มนี้
4. นิสิต ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีประสบการณ์จูงใจต่อการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์มากกว่านิสิตที่ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .001 คาสาคัญ : พฤติกรรมการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นิสิตมหาวิทยาลัย 3

Associate Professor Pranot Kaochim
Dr.Duangduen Saetang

Abstract
The purposes of this research were (1) to investigate the predictive factors of alcohol beverage consumption behavior among undergraduate students (2) to compare psychological factors, interpersonal factors, and contextual factors between students with difference in alcohol beverage consumption behavior.
The sample for this research included 425 undergraduate students who were studying in the third semester of academic year 2008 at Srinakharinwirot University and were studying two elective courses – PG 223 : Psychology of Adolescent, and PG 321 : Adult Psychology. The instruments for collecting research data were (1) a questionnaire on general personal background information : sex, age, year of study, area of study, place of campus, birth order, socioeconomic status of the family, marital status of parents, person (s) who students lived with, and doing activities in leisure time (2) two questionnaires of psychological factors : dependent personality scale ; and emotional instability scale (3) two questionnaires of interpersonal factors : relationship between father and mother scale ; and relationship between student and parents scale and (3) a questionnaire of contextual factor : scale on predisposing experiences to alcohol beverage consumption. The statistical methods and procedures for analyzing the data were percentage, mean, standard deviation, t-test, and logistic regression analysis.
The main findings were as follows :
1. Sex, place of campus, and predisposing experiences to alcohol beverage consumption could mutually predict alcohol beverage consumption behavior as much as 27.4 percent at the .01 level of significance.
1.1 The probability to consume alcohol beverage in male students was 2.98 times to that of female students.
1.2 The probability to consume alcohol beverage in students who studied at Onkarak Campus was 2.01 times of those at Prasarnmitre Campus.
1.3 If contextual factor score was one unit better than the previous score the probability to consume alcohol beverage was .95 times of its consumption at the previous time. 4

งานวิจัย 2



การใช้เทคนิคทางจิตวิทยาการกีฬาของนักกีฬาเซปักตะกร้อ
ของ ภาณุวัฒน์ วชิรธานินทร์
เสนอต่อ  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา 
มีนาคม 2553


บทคัดย่อ
ภาณุวัฒน์ วชิรธานินทร์. (2553). การใช้เทคนิคทางจิตวิทยาการกีฬาของนักกีฬาเซปักตะกร้อ.ปริญญานิพนธ์ วท.. (วิทยาศาสตร์การกีฬา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการควบคุม: รองศาสตราจารย์ ดร.สาลี่ สุภาภรณ์, ดร.พิชิต เมืองนาโพธิ์.
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาเทคนิคทางจิตวิทยาการกีฬาที่นักกีฬาเซปักตะกร้อใช้ระหว่างฝึกซ้อมและแข่งขัน กลุ่มตัวอย่างคือนักเซปักตะกร้อไทย เพศชายอายุระหว่าง 24-35 ปี ซึ่งเข้าแข่งขันกีฬาซีเกมส์ ปี 2552 การ เก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เทคนิคการบรรยายเหตุการณ์สาคัญและการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการเปรียบเทียบความคงที่ของข้อมูลและตรวจสอบด้วยวิธีการ สามเส้า ผลการวิจัยพบว่าเทคนิคทางจิตวิทยาการกีฬาที่นักกีฬาเซปักตะกร้อใช้ในระดับ มากคือ การพูดกับตนเอง การทาสมาธิ และการหายใจ เทคนิคที่ใช้ในระดับปานกลางได้แก่ การฝึกจินตภาพ การกาหนดเป้าหมายและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ อย่างไรก็ตาม เทคนิคที่ไม่ได้ใช้คือการสะกดจิตและไบโอฟิดแบ็ค ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเลือกเทคนิคทางจิตวิทยาการกีฬาคือ การขาดความเชี่ยวชาญในการใช้เทคนิคทางจิตวิทยาการกีฬาและการขาดนักจิตวิทยา การกีฬาที่ทางานร่วมกับทีมเซปักตะกร้อ

THE USE OF PSYCHOLOGICAL TECHNIQUES OF SEPAK TAKRAW PLAYERS
AN ABSTRACT
BY
PANUWAT WACHIRATHANIN
Presented in partial fulfillment of tha requirements for the
Master of Science degree in Sports Science
At Srinakharinwirot University
March 2010
Panuwat Wachirathanin. (2010). The Use of Psychological Techniques of Sepk Takrae players. Master Thesis, M.Sc. (Sports Science). Bangkok : Srinakharinwirot University. Advisor Committee : Assoc. Prof. Salee Supaporn, Dr. Pichit Muangnapoe.
This study examined the psychological techniques that Thai Sepak Takraw players used during practice and competition. Participants were 12 Thai Sepak Takraw players with range of ages between 24-35 years whom competed in the 25th SEA Games, 2009. Data were collected through non-participant observation, critical incident technique and semi-structured interview. Data were analyzed using constant comparison and triangulated data across methods. Findings indicated that the most preferred techniques that most Sepak Takraw players were self-talk, concentration and breathing control. The techniques moderately used were imagery, goal setting and progressive muscle relaxation. However, the techniques did not used were hypnosis and biofeedback. Problems related to selecting psychological techniques were the lack of proficiency in using those skills and lack of sport psychologists to work with Sepak Takraw team.